วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

หน่วยความจำสำรอง


 หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1 ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2 ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3 ใช้เป็นสื่อผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
                          ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญเสียของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจมีข้อมูลสูญหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไปหน่วยความจำประเภทนี้ส่สนใหญ่จะพบในประเภทของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูภายนอก เช่น ฮาร์ดดิก แผ่นบันทึกชิปดิก ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรอมนี้ถึงจะไม่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ตามปกติ
                         ส่วนแสดงผลข้อมูล
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือส่วนที่แสดง ผลข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยการประมวลผลกลางไห้ให้เป็นรูปแบบที่เราสามารถเข้าใจอุปกรณ์ ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)เครื่องพิมพ์ (printer)เครื่องพิมพ์ภาพ (ploter) และลำโพง (speaker) เป็นนต้น
                         บุคลากรทางคอมพิวเตอร์หรือ (peopleware)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์  หมายถึง คนที่มีความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรคอมพิวเตอร์ ( peopleware)
1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3 ฝ่ายบริปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
                          บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1 หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ ( edp  manager)
2 หัวหน้าวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (system analyst หรือ sa)
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
4 ผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ (computer operrator)
5 พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (data entry operator)
       -นักเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
       -โปรแกรม เมอร์
นำระบบนำงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
       -วิศวกรรม
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมแซม ซ่อมบำรุง และดูแลฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
       -พนักงานปฎิบัติ
ทำหน้าที่เกั่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
                            อาจแบ่งประเภทบุคลากรคอมพิวเตอร์4ระดับดังนี้
1 ผู้จัดการระบบ  (system manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2 นักวิเคราะห์ระบบงานเดิมหรืองานใหม่คือทำงานตามการวิเคราะห์เหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานควรความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังตามที่นักวิเคราะห์ระบบเขียนไว้
4 ผู้ใช้ (Uesr)
 คือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และวิธีการใช้การใช้โปรแกรมและวิธีการใช้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทงานได้ตามต้องการ
                               ซอฟแวร์ คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูณร์อย่างที่ต้องการ เรามองไม่เห็นความสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถจัดเก็บและนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟลชไดช์ ฮาร์ดดิช เป็นต้น
                               หน้าที่ของซอฟแวร์(soft ware)
ซอฟแวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
                                ซอฟแวร์แบ่งออกได้หลายประเภท
                                  แบ่งออกได้3 ประเภทใหญ่ๆคื
 ซอฟแวร์ระบบ(system soft waer)
 ซอฟแวร์ประยุกต์ (application  soft waer )
 ซอฟแวร์ใช้เฉพาะ
                                ซอฟแวร์ระบบ ( systen soft waer)
เป็โปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเื่อจัดการระบบหน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ คือดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์เช่น รับข้อมูล แป้นอัขระ แล้วแปลความความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไปแสดงไปแสดงยังภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
วอฟแวร์หรือโปรแกรมจัดระบบที่รู้จักกันดีก็คือ dos windose Unix linus รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่ง ที่เขียนในระดับคำสั่งที่เขียนในระดับที่สูง เช่นภาษา basin fortran pasc l, cobol เป็นต้น
นอกจากนี้ที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่นnortom sutilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วย เช่นกัน
                                หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ
 1 ใช้ในการจัดเก็บหน่วยรับหน่วยส่งออก เช่นการรับรู้ระบบเป็นต่างๆบนแผงแป้นคีบอดส่งรหัสตัวอักษรออกจากเครื่องพิมพ์ติดต่ออุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่ๆเช่น เมาส์ ลำโพง
2 ใช้ในการจัการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลข้อมูลบรรจุยังหน่วยความจำหลักหรือในทำนองกลับคืน คือการนำข้อมูลมาจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3 ใช้ตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายงานในสารระบบในหน่วยแผ่นบันทึกการทำงานสำเนาแผ่นข้อมูล soft waer ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์


   คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์  ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ  สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวนประมวลผล ข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข
                   ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หมายถึง ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
                   ส่วนที่1 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Imput  unit)
เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่เป็นสัญญาลักษณ์เข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องการ ได้แก่
                    แป้นพิมพ์  (keyboard)
                    แผ่น CD-Rom
                   ไมโครโฟน  (microphone)  
                    ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง  ( Central  processing  uint )      
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ สมองของคอมพิวเตอร์ 
                    ส่วนที่ 3 หน่วยความจำ ( memory  unit )
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดง
                     ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล ( output  unit )
ทำหน้าที่แสดงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทำหนาที่ประมวลผลหรือผ่านการคำนวนแล้ว
                     ส่วนที่ 5 อุปกรณืต่อพ่วงต่างๆ ( peripherral   equipment )
เป็นอุปกร์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยลดประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น  เช่น โมเด็ม  ( modem ) แผงวงจรเชื่อมต่อ เครือข่ายเป็นต้น
                     ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 1. มีความเร็วในการทำงาน  สามรถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วในชั่ววินาทีเดียวใช้คำนวนงานต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2 . มีประสิทธ์ภาพในการทำงานสูง ทำางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3 .มีความต้องการแม่นยำตามโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่ใช้
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองพื้นที่เก็บข้อมูล เอกสาร
5.สามรถโอนย้ายเก็บข้อมูล  จากอีกเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อน่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
                    ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง  กรรมวิธีของคอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลไห้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยช์นเพื่อความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุดเช่นระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฏร์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระเบียนของโรงพยาบาลเป็นต้น
                     การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผบบของคอมพิมเตอร์จากหน่วยงานที่เกียวข้อง
                       องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์  สามรถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4ส่วนดังนี้
                          1. ฮาร์ดแวร์  ( hard  ware)
                          2. ซอฟแวร์  (software) ชุดคำสั่ง
                          3. ข้อมูล   (data)
                          4. บุคลากร (people)
                         ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง  ตัวเครื่องอุปกรณ์และอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ  4ส่วนดังนี้
                         1.ส่วนประมวลผล
                         2.ส่วนความจำ
                         3.อุปกรณืรับเข้าและส่งออก
                         4.อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล 
                          ส่วนที่  1 CPU
CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเหมือนสมอง
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ประมวลผลและเปรีบยเทียบข้อมูลและเป็นสารสนเทศที่สามรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ความสามารถของ CPU นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงานการรับส่งข้อมูล อ่านและเขียนข้อมูลในการจำ ความเร็วของ  CPU  นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงานการรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมูลในความจำ ความเร็วของ CPUขึ้นกับตัวให้จังหวะเรียกว่าสัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วจำนวนรอบสัญาณใน 1วินาที มีหน่วยเป็น Hz เช่นาณให้ความเร็ว 1ล้านรอบใน 1 วินาทีเทีบยเท่าความเร็วของสัญาณนาฬิกา 1เฮิร์ต
                         ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ
                          1 หน่วยความจำหลัก
                          2 หน่วยความจำสำรอง
                          3หน่วยเก็บข้อมูล
                          1  หน่วยความจำหลัก 
แบ่งได้เป็น 2 ประเภท  คือ RAM& ROM
                             1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม" RAM
RAM=Random access  Memory เป็นหน่วยความจำที่ที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูล จะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงานข้อมูลที่อยู่ในหน่วยข้อมูลได้นานกว่าจะเปิดเครื่อง
                             1.2 หน่วยความจำแบบรอม  Rom( Rom= read only  memory )เป็นหน่วยความจำที่ต้องการที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ข้อมูลหลักทาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้ยอมใช้ CPU อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมการใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลไปเก็บไว้ได้ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า  "ความจำแบบลบเลือน"
                             2 หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับหน่วยความจำสำรองหรือทำงานเก็บข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องจาก ขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรองสามรถเก็บไว้ได้หลายแบบเช่น  แผ่นบันทึก  แบบแข็ง  (Hard  disk) แผ่น(Cd-rom )จากแสงแม่เหล็ก
                         หน่วยความจำสำรอง(secondary  memory unit)
หน่วยความจำสำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูลรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
                          หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1 ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2 ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3 ใช้เป็นสื่อผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง

วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

                   คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์  ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ  สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวนประมวลผล ข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข
                   ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หมายถึง ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
                   ส่วนที่1 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Imput  unit)
เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่เป็นสัญญาลักษณ์เข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องการ ได้แก่
                    แป้นพิมพ์  (keyboard)
                    แผ่น CD-Rom
                   ไมโครโฟน  (microphone)  
                    ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง  ( Central  processing  uint )      
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ สมองของคอมพิวเตอร์ 
                    ส่วนที่ 3 หน่วยความจำ ( memory  unit )
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดง
                     ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล ( output  unit )
ทำหน้าที่แสดงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทำหนาที่ประมวลผลหรือผ่านการคำนวนแล้ว
                     ส่วนที่ 5 อุปกรณืต่อพ่วงต่างๆ ( peripherral   equipment )
เป็นอุปกร์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยลดประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น  เช่น โมเด็ม  ( modem ) แผงวงจรเชื่อมต่อ เครือข่ายเป็นต้น
                     ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 1. มีความเร็วในการทำงาน  สามรถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วในชั่ววินาทีเดียวใช้คำนวนงานต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2 . มีประสิทธ์ภาพในการทำงานสูง ทำางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3 .มีความต้องการแม่นยำตามโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่ใช้
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองพื้นที่เก็บข้อมูล เอกสาร
5.สามรถโอนย้ายเก็บข้อมูล  จากอีกเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อน่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
                    ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง  กรรมวิธีของคอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลไห้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยช์นเพื่อความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุดเช่นระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฏร์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระเบียนของโรงพยาบาลเป็นต้น
                     การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผบบของคอมพิมเตอร์จากหน่วยงานที่เกียวข้อง
                       องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์  สามรถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4ส่วนดังนี้
                          1. ฮาร์ดแวร์  ( hard  ware)
                          2. ซอฟแวร์  (software) ชุดคำสั่ง
                          3. ข้อมูล   (data)
                          4. บุคลากร (people)
                         ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง  ตัวเครื่องอุปกรณ์และอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ  4ส่วนดังนี้
                         1.ส่วนประมวลผล
                         2.ส่วนความจำ
                         3.อุปกรณืรับเข้าและส่งออก
                         4.อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล 
                          ส่วนที่  1 CPU
CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเหมือนสมอง
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ประมวลผลและเปรีบยเทียบข้อมูลและเป็นสารสนเทศที่สามรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ความสามารถของ CPU นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงานการรับส่งข้อมูล อ่านและเขียนข้อมูลในการจำ ความเร็วของ  CPU  นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงานการรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมูลในความจำ ความเร็วของ CPUขึ้นกับตัวให้จังหวะเรียกว่าสัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วจำนวนรอบสัญาณใน 1วินาที มีหน่วยเป็น Hz เช่นาณให้ความเร็ว 1ล้านรอบใน 1 วินาทีเทีบยเท่าความเร็วของสัญาณนาฬิกา 1เฮิร์ต
                         ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ
                          1 หน่วยความจำหลัก
                          2 หน่วยความจำสำรอง
                          3หน่วยเก็บข้อมูล
                          1  หน่วยความจำหลัก 
แบ่งได้เป็น 2 ประเภท  คือ RAM& ROM
                             1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม" RAM
RAM=Random access  Memory เป็นหน่วยความจำที่ที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้า เพื่อรักษาข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูล จะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงานข้อมูลที่อยู่ในหน่วยข้อมูลได้นานกว่าจะเปิดเครื่อง
                             1.2 หน่วยความจำแบบรอม  Rom( Rom= read only  memory )เป็นหน่วยความจำที่ต้องการที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ข้อมูลหลักทาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้ยอมใช้ CPU อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมการใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลไปเก็บไว้ได้ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า  "ความจำแบบลบเลือน"
                             2 หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับหน่วยความจำสำรองหรือทำงานเก็บข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องจาก ขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรองสามรถเก็บไว้ได้หลายแบบเช่น  แผ่นบันทึก  แบบแข็ง  (Hard  disk) แผ่น(Cd-rom )จากแสงแม่เหล็ก
                         หน่วยความจำสำรอง(secondary  memory unit)
หน่วยความจำสำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูลรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
                          หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1 ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2 ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3 ใช้เป็นสื่อผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
                          ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญเสียของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจมีข้อมูลสูญหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไปหน่วยความจำประเภทนี้ส่สนใหญ่จะพบในประเภทของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูภายนอก เช่น ฮาร์ดดิก แผ่นบันทึกชิปดิก ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรอมนี้ถึงจะไม่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ตามปกติ
                         ส่วนแสดงผลข้อมูล
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือส่วนที่แสดง ผลข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยการประมวลผลกลางไห้ให้เป็นรูปแบบที่เราสามารถเข้าใจอุปกรณ์ ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)เครื่องพิมพ์ (printer)เครื่องพิมพ์ภาพ (ploter) และลำโพง (speaker) เป็นนต้น
                         บุคลากรทางคอมพิวเตอร์หรือ (peopleware)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์  หมายถึง คนที่มีความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรคอมพิวเตอร์ ( peopleware)
1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3 ฝ่ายบริปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
                          บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1 หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ ( edp  manager)
2 หัวหน้าวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (system analyst หรือ sa)
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
4 ผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ (computer operrator)
5 พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (data entry operator)
       -นักเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
       -โปรแกรม เมอร์
นำระบบนำงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
       -วิศวกรรม
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมแซม ซ่อมบำรุง และดูแลฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
       -พนักงานปฎิบัติ
ทำหน้าที่เกั่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
                            อาจแบ่งประเภทบุคลากรคอมพิวเตอร์4ระดับดังนี้
1 ผู้จัดการระบบ  (system manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2 นักวิเคราะห์ระบบงานเดิมหรืองานใหม่คือทำงานตามการวิเคราะห์เหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานควรความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังตามที่นักวิเคราะห์ระบบเขียนไว้
4 ผู้ใช้ (Uesr)
 คือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และวิธีการใช้การใช้โปรแกรมและวิธีการใช้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทงานได้ตามต้องการ
                               ซอฟแวร์ คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูณร์อย่างที่ต้องการ เรามองไม่เห็นความสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถจัดเก็บและนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟลชไดช์ ฮาร์ดดิช เป็นต้น
                               หน้าที่ของซอฟแวร์(soft ware)
ซอฟแวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
                                ซอฟแวร์แบ่งออกได้หลายประเภท
                                  แบ่งออกได้3 ประเภทใหญ่ๆคื
 ซอฟแวร์ระบบ(system soft waer)
 ซอฟแวร์ประยุกต์ (application  soft waer )
 ซอฟแวร์ใช้เฉพาะ
                                ซอฟแวร์ระบบ ( systen soft waer)
เป็โปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเื่อจัดการระบบหน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ คือดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์เช่น รับข้อมูล แป้นอัขระ แล้วแปลความความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไปแสดงไปแสดงยังภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
วอฟแวร์หรือโปรแกรมจัดระบบที่รู้จักกันดีก็คือ dos windose Unix linus รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่ง ที่เขียนในระดับคำสั่งที่เขียนในระดับที่สูง เช่นภาษา basin fortran pasc l, cobol เป็นต้น
นอกจากนี้ที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่นnortom sutilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วย เช่นกัน
                                หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ
 1 ใช้ในการจัดเก็บหน่วยรับหน่วยส่งออก เช่นการรับรู้ระบบเป็นต่างๆบนแผงแป้นคีบอดส่งรหัสตัวอักษรออกจากเครื่องพิมพ์ติดต่ออุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่ๆเช่น เมาส์ ลำโพง
2 ใช้ในการจัการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลข้อมูลบรรจุยังหน่วยความจำหลักหรือในทำนองกลับคืน คือการนำข้อมูลมาจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3 ใช้ตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายงานในสารระบบในหน่วยแผ่นบันทึกการทำงานสำเนาแผ่นข้อมูล soft waer ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา
                               ซอฟแวร์ระบบสามารถแบ่งออกเป็น   2ประเภทดังนี้
 1 ระบบปฏิบัติการ
 2 ต้วแปลภาษา
1 ระบบปฏิบัติการหรือเรียกย่อว่า os(operter system :os)
ซอฟแวร์ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ ลีนุกส์ืและแมคอินทอช
                   1  ดอส  ( disk Operating system :dos)เป็นซอฟแวร์จัดเป็นระบบที่พัมนามาแล้วการใช้งานจึงต้องใช้คำสั่งเป็ดอสเป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันในตัวอักษรปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสมีคนรู้จักน้อยมาก
                    2 วินโดว์  เป็นระบบการปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากจากดอสที่ไห้ผู้ใช้สั่งงานจากเมาส์ได้มากขึ้นแทนการใช้แผงเป็นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้โดยงานแต่ละงานในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพการใช้งานเน้นแบบกราฟฟิกผู้ใช้งานสามรถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ เลือกตำแหน่งที่ปรากฎบนหน้าจอภาพทำไห้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
                   3 ยูนิกส์ เป็นระการปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์เป็นระการปฏิบัติการทั่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องยึดติดกับระบบในระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกันยูนิกยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ
                   4ลีนุกซ์ (linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจาก ยูนิกส์เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับไห้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของของระบบปฎิบัติการระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากๆในปัจจุบันเนื่องจากโปรแกรมประยุกต่างๆที่ทำงานระบบลีนุกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูนิวส์และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกเป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรีผู้ใช้สามรถใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
                  ระบบลีนุกซ์   สามารถทำงานบน Cpu  หลายตระกูลอินเทคและซันสปาคร์ถึงแม้ในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สารถแทนที่ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บน pc  ได้ทั้งหมดก็ตามแต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
                  5 แมคอินทอช เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากนำไปใช้งานในด้านกราฟฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้สำนักพิมพ์ต่างๆนอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมากมาย เช่นระบบปฏิบัติการใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานในระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแม้นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งซึ่งสามารถจะซึ่งส่วนใหญ่จะใช้งานชนิดปฏิบติการสามรถแบ่งออกได้ 3 ชนิด 
1 ประเภทงานเดียว
ระบบการปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดไห้คอมพิวเตอร์ใชงานใช้งานได้ครั้งละหนึ่งเท่านั้นใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครซอฟคอมพิวเตอร์เช่นระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
 2 ประเภทใช้หลายงาน
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานได้ขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถทำงานในซอฟแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติ windoes ขึ้นไป และยูนิกซ์ เป็นต้น
3  ประเภทใช้งานได้หลายคน
ในการใช้งานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำไห้ขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันหลายคนแต่ละคนสถานีงานของตนเองเชื่อมคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่ีมีความสามารถสูงเพื่อผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเส็ดในเวลา เช่นระบบปฏิบัติการ windows nt และunix เป็นต้น
                   2ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
                    ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาที่สามารถเขียนไห้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจง่าย และเพื่อให้ส่มารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ในภายหลังได้
                     ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีต้องมีตัวแปลภาษาซึ่งภาระดับสูงได้แก่ภาษา basic และภาษาโลโกเป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมากได้แก่ fortran  cobol และภาษาอาพีจี
              2.2 ซอฟแวร์ประยุกต์(Application softwaer)
ซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การทำบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
              ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิตจำแนกได้เป็น2 ประเภท คือ
1 ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(Proprietary softwaer)
2ซอฟแวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packagad softwaer)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized packagad)และโปรแกรมมาตราฐาน
              ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งานจำแนกเป็น3กลุ่มใหญ่ดังนี้
1กลุ่มการใช้งานทางด้านธุระกิจ
2 กลุ่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมิเดีย(Graphic)
3กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(wed and communications)
             กลุ่มการใช้งานทางด้านธุระกิจ (Business)ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่น การจัดพิมพ์รายงาน นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆเช่น
โปรแกรมประมวลคำ อาทิ microsoft word , sun star office writer
โปรแกรม ตารางคำนวน อาทิ microsoft exccel, sun staroffice cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ microsoft Powerpoint ,sun staroffice impress
            กลุ่มการใช้งานซอฟแวร์ทางด้านกราฟฟิกและมัลติมิเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟฟิกและมัลติมิเดียเพื่อใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ตัวอย่าง เช่น
        โปรแกรมการออกแบบ อาทิ(microsoft visioprofeffional)
        โปรแกรมตกแต่งภพ อาทิcoreidrawadobe photoshop
        โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียงอาทิadobe premiere, pinnacle studio DV
        โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิAdobe Authorware, toolbok Instructor, adobe Director
        โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ adobe , flash adobe Dreamweaver
            กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเทอเน็ตซอฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คเมลล์การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปร กรมในกลุ่มนี้
       โปรแกรมการจัดการอีเมลล์ อาทิmicrosoft Outlook , mozzila Thunderbird
       โปรแกรมท่องเว็บ อาทิmicrosoft Internet Exploreer , mozzila FireFox
       โปรแกรมประชุมทางไกล Video confernce อาทิ  microsoft netmeeting
       โปรแกรมส่งข้อความด่วน(instantmessagging) อาทิ msn Messenger/windows , IcQ
       โปรแกรมสนทนาบนอินเทอรเน็ต อาทิPirch , Mirch
          ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
          การใช้ซอฟแวร์เครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จพะเข้าใจได้ทันทีแต่ผู้ใช้มนุษย์ต้องมีความยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่ป็นตัวอักษรเป็นประโยคข้อความภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวนทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางภามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
             ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
มนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์ต้องการบอกขั้นตอนการใช้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำทุกอย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกันเช่นเดียวก็ชึ่งมนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการการใช้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกประกอบด้วย
             ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานทำงานด้วยสัญญานทางไฟฟ้าแทนด้วยตัวเลข0และ1ได้ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และตัวเลข1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐาน2 คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อ
            การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
           ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาในยุกคอมพิวเตอร์ในยุกที่2 ถักจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยาก ลงในการเขียนโปแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซม เบเลอร์ เพื่อแปลชุดภาแอสเซมบลี
          ภาษาระดับสูงHing-level Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่าที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำไห้ผผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่ายขึ้นผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้เเละเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้นเนื่องจากภาระดับสูง ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ตัวแปลระดับสูงเพื่อไห้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2 ชนิด คือ

          คอมไพเลอร์ compiler และอินเทอร์พรีเตอร์ Interpreter

 คอมไพเลอร์  จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงไห้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนี้น อินเทอร์พรีเตอร์จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วไห้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่ง
            ลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอรืจึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง