วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1 ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2 ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3 ใช้เป็นสื่อผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญเสียของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจมีข้อมูลสูญหาย จึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไปหน่วยความจำประเภทนี้ส่สนใหญ่จะพบในประเภทของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูภายนอก เช่น ฮาร์ดดิก แผ่นบันทึกชิปดิก ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรอมนี้ถึงจะไม่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ตามปกติ
ส่วนแสดงผลข้อมูล
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือส่วนที่แสดง ผลข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยการประมวลผลกลางไห้ให้เป็นรูปแบบที่เราสามารถเข้าใจอุปกรณ์ ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)เครื่องพิมพ์ (printer)เครื่องพิมพ์ภาพ (ploter) และลำโพง (speaker) เป็นนต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์หรือ (peopleware)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรคอมพิวเตอร์ ( peopleware)
1 ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2 ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3 ฝ่ายบริปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1 หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ ( edp manager)
2 หัวหน้าวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (system analyst หรือ sa)
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
4 ผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ (computer operrator)
5 พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (data entry operator)
-นักเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
-โปรแกรม เมอร์
นำระบบนำงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
-วิศวกรรม
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมแซม ซ่อมบำรุง และดูแลฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
-พนักงานปฎิบัติ
ทำหน้าที่เกั่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
อาจแบ่งประเภทบุคลากรคอมพิวเตอร์4ระดับดังนี้
1 ผู้จัดการระบบ (system manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2 นักวิเคราะห์ระบบงานเดิมหรืองานใหม่คือทำงานตามการวิเคราะห์เหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3 โปรแกรมเมอร์ (programer)
คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานควรความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังตามที่นักวิเคราะห์ระบบเขียนไว้
4 ผู้ใช้ (Uesr)
คือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และวิธีการใช้การใช้โปรแกรมและวิธีการใช้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทงานได้ตามต้องการ
ซอฟแวร์ คือ การลำดับขั้นตอนของการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูณร์อย่างที่ต้องการ เรามองไม่เห็นความสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถจัดเก็บและนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟลชไดช์ ฮาร์ดดิช เป็นต้น
หน้าที่ของซอฟแวร์(soft ware)
ซอฟแวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย
ซอฟแวร์แบ่งออกได้หลายประเภท
แบ่งออกได้3 ประเภทใหญ่ๆคือ
ซอฟแวร์ระบบ(system soft waer)
ซอฟแวร์ประยุกต์ (application soft waer )
ซอฟแวร์ใช้เฉพาะ
ซอฟแวร์ระบบ ( systen soft waer)
เป็โปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเื่อจัดการระบบหน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ คือดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์เช่น รับข้อมูล แป้นอัขระ แล้วแปลความความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไปแสดงไปแสดงยังภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
วอฟแวร์หรือโปรแกรมจัดระบบที่รู้จักกันดีก็คือ dos windose Unix linus รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่ง ที่เขียนในระดับคำสั่งที่เขียนในระดับที่สูง เช่นภาษา basin fortran pasc l, cobol เป็นต้น
นอกจากนี้ที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่นnortom sutilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วย เช่นกัน
หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ
1 ใช้ในการจัดเก็บหน่วยรับหน่วยส่งออก เช่นการรับรู้ระบบเป็นต่างๆบนแผงแป้นคีบอดส่งรหัสตัวอักษรออกจากเครื่องพิมพ์ติดต่ออุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่ๆเช่น เมาส์ ลำโพง
2 ใช้ในการจัการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลข้อมูลบรรจุยังหน่วยความจำหลักหรือในทำนองกลับคืน คือการนำข้อมูลมาจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3 ใช้ตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายงานในสารระบบในหน่วยแผ่นบันทึกการทำงานสำเนาแผ่นข้อมูล soft waer ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น